กฎหมายไทย LGBTQ ขอสิทธิ “สมรสเท่าเทียม” ไม่ใช่แค่ “จดแจ้งคู่ชีวิต”

 

 

กฎหมายไทย  กฎหมายไทยล่าสุด  กฎหมายไทยในปัจจุบัน กฎหมายน่ารู้ 50 ข้อ  สรุปกฎหมายไทย  กฎหมายไทย pdf  ระบบกฎหมายไทย  กฎหมายไทยมีกี่ประเภท  กฎหมายไทย คือ

 

กฎหมายไทยผ่านพ้นวันวาเลนไทน์มาแล้ว ในปีนี้มีกิจกรรมใหม่ที่เกิดขึ้นเป็นครั้งแรกในประเทศไทย นั่นก็คือ การจดทะเบียนสมรสของคู่รักที่มีความหลากหลายทางเพศ เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2565 วันวาเลนไทน์ สำนักงานเขตบางขุนเทียนได้จัดงาน จดแจ้งความรัก ให้กับคู่รัก LGBTQ+ โดย ดร.พงษ์จักรินทร์ ถาวรพงษ์ ผู้อำนวยการ สำนักงานเขตบางขุนเทียน กล่าวว่า “แคมเปญ “จดแจ้งความรัก” สำหรับคู่รัก LGBTQ+ ภายใต้งาน THE CANDEL OF LOVE  หรือ “บางขุนเทียน แสงเทียนแห่งรัก”สรุปกฎหมายไทย

กฎหมายไทยล่าสุด

ในวันที่ 14 กุมภาพันธ์นี้ ถือเป็นครั้งแรกในประเทศไทย เขตบางขุนเทียน กฎหมายน่ารู้ 50 ข้อให้แสงเทียนส่องนำชีวิตคู่ เพื่อเป็นพื้นที่ให้กลุ่ม LGBTQ+ มีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์เท่าเทียมกัน กลุ่ม LGBTQ+ มีจำนวนไม่น้อยในสังคม มีความสามารถเช่นเดียวกับคนทั่วไป จึงต้องการให้สังคมหันกลับมาให้ความสำคัญ แคมเปญนี้จะช่วยสนับสนุนให้มีกฎหมายสมรสเท่าเทียม เช่นเดียวกับนานาอารยะประเทศ ใน ใบจดแจ้งความรัก มีลักษณะหลักเช่นเดียวกับ ใบทะเบียนสมรส คือ มีชื่อ สกุล ของทั้งสองฝ่าย ระบุวันที่จะแจ้งความรัก และลายเซ็นของนายทะเบียนผอ.เขตบางขุนเทียน แต่มีหมายเหตุเล็กๆ กำกับว่า เป็นกิจกรรมของสำนักงานเขตบางขุนเทียน โดยไม่มีผลผูกพันทางกฎหมายใดๆ” วันวาเลนไทน์ในปีนี้ สำนักงานเขตบางขุนเทียนมีสถิติใหม่ มีคู่รัก LGBTQ+ มาลงทะเบียนจดแจ้งความรัก 269 คู่ และมีคู่รักหญิง-ชายมาจดทะเบียนสมรส 159 คู่ จดแจ้งคู่สมรสเพศเดียวกัน ไม่มีผลทางกฎหมาย การจัดกิจกรรม “จดแจ้งสมรสคู่รักเพศเดียวกัน” ที่สำนักงานเขตบางขุนเทียนจัดขึ้น บางคนบอกว่า ไม่มีประโยชน์อะไร แต่บางคนมองว่า แม้ไม่มีผลทางกฎหมาย แต่ก็ยังดีที่สังคมกำลังปรับเปลี่ยนทัศนคติ

 

ระบบกฎหมายไทย

ระบบกฎหมายไทย

โดยเฉพาะหน่วยงานราชการ อาจต้องใช้เวลานาน แต่ก็ยังดีที่มีคนเริ่ม อภิญญา ผดุงโชค อาสาสมัครนักสิทธิมนุษยชนกฎหมายไทย pdf มูลนิธิเครือข่ายเพื่อนกะเทยเพื่อสิทธิมนุษยชน มองว่า กิจกรรมนี้ช่วยเปล่งเสียงของ LGBTQ+ ให้ดังขึ้น “คนเรามีสิทธิที่จะสมรสได้กับทุกเพศ ไม่ได้มีแค่คู่หญิง-ชาย ส่วนในรัฐสภาที่ได้อภิปรายเรื่องสมรสเท่าเทียม เขาอาจรับพิจารณา แต่ก็เหมือนเอาไปดองไว้ ประเทศไทยมีคนหลากหลายทางเพศเยอะ และมีความประสงค์อยากจดทะเบียน เพื่อใช้ชีวิตคู่อยู่ด้วยกันได้เหมือนคู่ชาย-หญิง กิจกรรมนี้เป็นแรงกระเพื่อมให้ที่อื่นอยากทำด้วย

สิทธิที่คู่สมรสเพศเดียวกัน ควรเหมือนคู่สมรสทั่วไปทุกประการ เท่าเทียมกัน ทั้งสิทธิเสรีภาพ ครอบครัว ระบบกฎหมายไทยการตั้งถิ่นฐาน ระบบประกันสุขภาพ เคยมีเคสหนึ่ง หญิงข้ามเพศ แฟนปวดท้องมากต้องผ่าตัดไส้ติ่ง เข้าโรงพยาบาล คนที่เซ็นต้องเป็นคนในครอบครัวเท่านั้น และติดต่อครอบครัวไม่ได้ ก็ไม่สามารถทำอะไรได้ เพราะไม่ใช่คู่สมรสกัน ถ้ารัฐฯ ยอมรับเปิดมุมมองเรื่องนี้ก็น่าจะผ่านตั้งแต่ศาลรัฐธรรมนูญแล้ว เพราะคนไทยขับเคลื่อนเรื่องนี้มาเกือบสิบปี ต่างชาติเขาก็ออกกฎหมายให้สมรสระหว่างเพศเดียวกันได้แล้ว

 

กฎหมายไทยในปัจจุบัน

กฎหมายไทยในปัจจุบัน

อยากให้ทุกเพศได้สิทธิขั้นพื้นฐาน” ภาคีสีรุ้งจัด “สมรสเท่าเทียม” ทั้งแผ่นดิน ในวันวาเลนไทน์ 2565 กลุ่มภาคีสีรุ้งได้จัดกิจกรรม กฎหมายไทยล่าสุด# สมรสเท่าเทียม ทั้งแผ่นดิน ในหลายพื้นที่ทั่วกรุงเทพมหานคร โดย ฟ้า-พรหมศร วีระธรรมจารี และแฟน ได้เดินทางไปยื่นคำร้องขอจดทะเบียนสมรส ที่สำนักงานเขตบางรัก ผู้อำนวยการสำนักงานเขตบางรัก บอกให้ฟ้าและแฟนกรอกเอกสารคำร้องขอจดทะเบียนสมรส หลังจากนั้น เจ้าหน้าที่ได้เขียนว่า ได้ตรวจสอบคุณสมบัติของคู่สมรสแล้ว ทั้งสองฝ่ายเป็นเพศชาย จึงไม่มีคุณสมบัติที่จะจดทะเบียนสมรสได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ซึ่งกำหนดให้ชายและหญิงเท่านั้นที่สามารถจดทะเบียนสมรสได้ ในเรื่องนี้ ฟ้า พรหมศร กล่าวว่า ในฐานะประชาชนคนไทยผู้เสียภาษี เราได้เรียกร้องทวงสิทธิอันชอบธรรมมาตลอด

“ในรัฐธรรมนูญระบุว่า ประชาชนคนไทยทุกคนมีสิทธิเท่าเทียมกัน สิ่งที่ฟ้าทำกับแฟนไม่ได้นอกเหนือจากรัฐธรรมนูญ แต่เรากำลังทำให้รัฐธรรมนูญสมบูรณ์แบบยิ่งขึ้น การจดทะเบียนสมรสของคู่รักไม่ว่าจะเป็นใครก็ตาม ไม่ใช่การแสดงออกความรักในวันวาเลนไทน์เพียงอย่างเดียว กฎหมายไทยในปัจจุบัน แต่มันคือสิทธิในการดูแลรักษาคนที่เรารักเมื่อถึงเวลาฉุกเฉิน การจดทะเบียนสมรสนำพามาซึ่งการดูแลซึ่งกันและกัน วันนี้เป็นก้าวแรกเพื่อแสดงให้ภาครัฐเห็นว่า ความรักไม่จำกัดเฉพาะใคร ความรักเป็นสิ่งงดงามที่สุดในโลก ความรักนำพามาซึ่งทุกอย่าง ขอให้ทุกคนมาร่วมกันลงชื่อเสนอกฎหมายไทย

ข่าวแนะนำ

ขอบคุณข่าวต้นทางbangkokbiznews.com